ระบบการเก็บข้อมูลและอุปกรณ์ที่ใช้กับระบบเก็บข้อมูล มีอะไรบ้าง กล่าวโดยสรุป
ระบบการเก็บข้อมูลใช้เมื่อเรามีความจำเป็นต้องมีการเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว เนื่องจากการสื่อสารที่มีระยะยาวไกล หรือมีการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประกอบด้วย
1. ฮาร์ดดิสค์ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลประเภทหนึ่ง เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นและเป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ติดตั้งมาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ใช้ในการติดตั้งระบบปฏิบัติการ ติดตั้งโปรแกรมประยุกต์และเก็บข้อมูลของผู้ใช้ ฮาร์ดดิสค์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันเป็นแบบติดภายในเครื่องไม่เคลื่อนย้ายเหมือนแผ่นดิสเก็ต อาจเรียกว่า ดิสค์วินเชสเตอร์
2. ดาต้าเซนเตอร์ คือถสานที่และอุปกรณ์เครื่องมือที่ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ที่สำคัญ และองค์ประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ระบบปรับอากาศ ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้า สำรอง ระบบเชื่อมต่อเครือข่ายสำรองและระบบป้องกันภัยระดับสูง
วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
6.รหัสแทนข้อมูล
รัหสแทนข้อมูล(Data Code) มีอะไรบ้าง กล่าวโดยสรุป
รหัสแทนข้อมูลที่มีรูปแบบเป็นสากลแบบแรกที่เกิดขึ้น คือ รหัสมอส และยังมีรหัสแทนข้อมูลอื่นๆที่ถือว่าเป็นสากลในวงการสื่อสารเช่น รหัสแอสกี รหัสโบดอต รหัสเอ็บซีดิก และรหัสยูนิโค้ด
รหัสแทนข้อมูลใช้สำหรับแทนข่าวสารเป็นำจำนวนมากจะแทนข้อมูลในลักษณะที่เรียกว่า ข้อมูลจุดภาพ ส่วนข้อมูลที่เป็นสัญลักษณ์ มักแทนด้วยรหัส Alphanumeric ซึ่งเป็นพยัญชนะ ตัวเลข เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ควบคุมพิเศษ
รหัสแทนข้อมูลที่มีรูปแบบเป็นสากลแบบแรกที่เกิดขึ้น คือ รหัสมอส และยังมีรหัสแทนข้อมูลอื่นๆที่ถือว่าเป็นสากลในวงการสื่อสารเช่น รหัสแอสกี รหัสโบดอต รหัสเอ็บซีดิก และรหัสยูนิโค้ด
รหัสแทนข้อมูลใช้สำหรับแทนข่าวสารเป็นำจำนวนมากจะแทนข้อมูลในลักษณะที่เรียกว่า ข้อมูลจุดภาพ ส่วนข้อมูลที่เป็นสัญลักษณ์ มักแทนด้วยรหัส Alphanumeric ซึ่งเป็นพยัญชนะ ตัวเลข เครื่องหมายวรรคตอน และสัญลักษณ์ควบคุมพิเศษ
5.สัญญาณดิจิทัลและสัญญาณแอนะล็อก
สัญญาณดิจิทัลและสัญญาณแอนะล๊อกแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
สัญญาณดิจิทัล จะสามารถแยกข้อมูลตัวที่อยู่ติดกันออกจากันได้โดยง่าย คุณสมบัติข้อนี้เรียกว่า การแยกจากกัน เช่น ข้อมูลที่เป็นข้อความ จำนวนเลข หรือรหัสมอส เป็นต้น
สัญญาณแอนะล๊อก จะไม่สามารถแยกส่วนประกอบของข้อมูลออกจากันได้โดยง่าย เช่น ข้อมูลที่เป็นเสียงสนทนาหรือภาพวิดิทัศน์ จะเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง เช่น กระแสลม กระแสน้ำ และกระแสไฟฟ้า หรือแสงเป็นต้น
สัญญาณดิจิทัล จะสามารถแยกข้อมูลตัวที่อยู่ติดกันออกจากันได้โดยง่าย คุณสมบัติข้อนี้เรียกว่า การแยกจากกัน เช่น ข้อมูลที่เป็นข้อความ จำนวนเลข หรือรหัสมอส เป็นต้น
สัญญาณแอนะล๊อก จะไม่สามารถแยกส่วนประกอบของข้อมูลออกจากันได้โดยง่าย เช่น ข้อมูลที่เป็นเสียงสนทนาหรือภาพวิดิทัศน์ จะเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง เช่น กระแสลม กระแสน้ำ และกระแสไฟฟ้า หรือแสงเป็นต้น
ตัวอย่างภาพแสดงลักษณะสัญญาณดิจิทัลและแอนะล๊อก
4.จงอธิบายความหมายดังต่อไปนี้
จงอธิบายความหมายดังต่อไปนี้
อัตราการส่งบิต
อัตราการส่งบิต หมายถึง หน่วยนับข้อมูลที่เล็กที่สุดที่มีการใช้งานทางคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ย่อมาจาก Binary Digit หรือตัวเลขฐานสอง บิตจึงมีความหมายถึง 0 และ 1 เท่านั้น 1 หมายถึง เปิด และ 0 หมายถึงปิด
อัตราการส่งบิต คือ อัตราเร็วในการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายซึ่งเป็นการนับจำนวนบิตที่ส่งอออกต่อหน่วยเวลา เช่น 1,000 บิตต่อวินาที
อัตราการส่งบอด หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณที่เกิดขึ้นต่อหน่วยเวลา เช่น จำนวนครั้งของการเปลี่ยนแปลงขนาดแรงดันไผผ้า หรือการเปลี่ยนแปลงทิศทางของสัญญาณ ซึ่งโดยปกติเปรียบเทียบหน่วยเป็นวินาที
ความถี่ของสัญญาณ เป็นจำนวนครั้งหรือจำนวนวงรอบของสัญญาณ ซึ่งเป็นความหมายเดียวกับอัตราการส่งบอด แต่ความถี่ของสัญญาณเป็นคำที่มีความหมายกว้างกว่ามากเพราะไม่ได้จำกัดอยู่แค่เพียงการส่งอข้อมูลแต่หมายถึงการส่งสัญญาณใดๆ ก็ได้ มีหน่วยนับเป็น เฮิรตซ์
ความกว้างช่องสัญญาณ หมายถึง ระยะห่างระหว่างคลื่นความถี่สองคลื่นมีหน่วยนับเป็นเฮิรตซ์ ความกว้างของช่องสัญญาณนำมาใช้ในการอธิบายช่วงความถี่คลื่นสัญญาณที่ใช้สนการสื่อสารผ่านสื่อกลาง เช่น ถ้าเปรียบสายโทรศัพท์เป็นถนน ความกว้างของช่องสัญญาณก็คือ ความกว้างของถนนสายนั้น ยิ่งถนนกว้างมากรถก็แล่นได้สะดวกมาก
สัญญาณดิจิทัล จะสามารถแยกข้อมูลตัวที่อยู่ติดกันออกจากันได้โดยง่าย คุณสมบัติข้อนี้เรียกว่า การแยกจากกัน เช่น ข้อมูลที่เป็นข้อความ จำนวนเลข หรือรหัสมอส เป็นต้น
สัญญาณแอนะล๊อก จะไม่สามารถแยกส่วนประกอบของข้อมูลออกจากันได้โดยง่าย เช่น ข้อมูลที่เป็นเสียงสนทนาหรือภาพวิดิทัศน์ จะเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง เช่น กระแสลม กระแสน้ำ และกระแสไฟฟ้า หรือแสงเป็นต้น
อัตราการส่งบิต
อัตราการส่งบิต หมายถึง หน่วยนับข้อมูลที่เล็กที่สุดที่มีการใช้งานทางคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ย่อมาจาก Binary Digit หรือตัวเลขฐานสอง บิตจึงมีความหมายถึง 0 และ 1 เท่านั้น 1 หมายถึง เปิด และ 0 หมายถึงปิด
อัตราการส่งบิต คือ อัตราเร็วในการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายซึ่งเป็นการนับจำนวนบิตที่ส่งอออกต่อหน่วยเวลา เช่น 1,000 บิตต่อวินาที
อัตราการส่งบอด หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณที่เกิดขึ้นต่อหน่วยเวลา เช่น จำนวนครั้งของการเปลี่ยนแปลงขนาดแรงดันไผผ้า หรือการเปลี่ยนแปลงทิศทางของสัญญาณ ซึ่งโดยปกติเปรียบเทียบหน่วยเป็นวินาที
ความถี่ของสัญญาณ เป็นจำนวนครั้งหรือจำนวนวงรอบของสัญญาณ ซึ่งเป็นความหมายเดียวกับอัตราการส่งบอด แต่ความถี่ของสัญญาณเป็นคำที่มีความหมายกว้างกว่ามากเพราะไม่ได้จำกัดอยู่แค่เพียงการส่งอข้อมูลแต่หมายถึงการส่งสัญญาณใดๆ ก็ได้ มีหน่วยนับเป็น เฮิรตซ์
ความกว้างช่องสัญญาณ หมายถึง ระยะห่างระหว่างคลื่นความถี่สองคลื่นมีหน่วยนับเป็นเฮิรตซ์ ความกว้างของช่องสัญญาณนำมาใช้ในการอธิบายช่วงความถี่คลื่นสัญญาณที่ใช้สนการสื่อสารผ่านสื่อกลาง เช่น ถ้าเปรียบสายโทรศัพท์เป็นถนน ความกว้างของช่องสัญญาณก็คือ ความกว้างของถนนสายนั้น ยิ่งถนนกว้างมากรถก็แล่นได้สะดวกมาก
สัญญาณดิจิทัล จะสามารถแยกข้อมูลตัวที่อยู่ติดกันออกจากันได้โดยง่าย คุณสมบัติข้อนี้เรียกว่า การแยกจากกัน เช่น ข้อมูลที่เป็นข้อความ จำนวนเลข หรือรหัสมอส เป็นต้น
สัญญาณแอนะล๊อก จะไม่สามารถแยกส่วนประกอบของข้อมูลออกจากันได้โดยง่าย เช่น ข้อมูลที่เป็นเสียงสนทนาหรือภาพวิดิทัศน์ จะเป็นข้อมูลที่มีความต่อเนื่อง เช่น กระแสลม กระแสน้ำ และกระแสไฟฟ้า หรือแสงเป็นต้น
3.องค์กรบริหารคลื่นความถี่มีอะไรบ้าง
3. องค์กรบริหารคลื่นความถี่มีอะไรบ้าง กล่าวโดยสรุป
องค์กรบริหารคลื่นความถี่ หมายถึง การที่รัฐมีหน้าที่ให้บริการและปกป้องประชาชนในประเทศของตน กำกับดูแลการใช้ประโยชน์คลื่นความถี่สำหรับการสื่อสารข้อมูลให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนของตนอย่างดีที่สุดและป้องกันไม่ให้ผู้ใดหรือบริษัทใดกระทำการเอาเปรียบประชาชน เช่น กำหนดวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ โทรศัพท์และอื่นๆ อย่างเป็นธรรม ควบคุมวิธีการคิดและกำหนดอัตราการให้บริการอย่างเหมาะสม องค์กรบริหารคลื่นความถี่ของประเทศต่างๆ เช่น คณะกรรมการการสื่อสารแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา คณะกรรมการการบริหารโทรคมนาคมและข่าวสารแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา องค์กรควบคุมมาตรฐาน ส่วนในประเทศไทยก็กำลังมีการจัดตั้งองค์กรบริหารคลื่นความถี่เช่นกัน
องค์กรบริหารคลื่นความถี่ หมายถึง การที่รัฐมีหน้าที่ให้บริการและปกป้องประชาชนในประเทศของตน กำกับดูแลการใช้ประโยชน์คลื่นความถี่สำหรับการสื่อสารข้อมูลให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนของตนอย่างดีที่สุดและป้องกันไม่ให้ผู้ใดหรือบริษัทใดกระทำการเอาเปรียบประชาชน เช่น กำหนดวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่วิทยุ โทรศัพท์และอื่นๆ อย่างเป็นธรรม ควบคุมวิธีการคิดและกำหนดอัตราการให้บริการอย่างเหมาะสม องค์กรบริหารคลื่นความถี่ของประเทศต่างๆ เช่น คณะกรรมการการสื่อสารแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา คณะกรรมการการบริหารโทรคมนาคมและข่าวสารแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา องค์กรควบคุมมาตรฐาน ส่วนในประเทศไทยก็กำลังมีการจัดตั้งองค์กรบริหารคลื่นความถี่เช่นกัน
2.องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
2. องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลมีอะไรบ้าง กล่าวโดยสรุปพร้อมยกตัวอย่าง
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล มีองค์ประกอบพื้นฐานหลักอยู่ 4 อย่าง คือ
1. ผู้ส่งและผู้รับ
2. โพรโตคอลและซอฟต์แวร์
โพรโตคอล คือ วิธีการหรือกฎระเบียบต่างๆ เพื่อคอบคุมการทำงานของระบบสื่อสารข้อมูลทั้งของผู้ส่งและผู้รับ
ซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่ให้การดำเนินงานในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้
3. ข่าวสาร คือ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสารข้อมูล
4. สื่อกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสาร เพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง เช่น สายเคเบิล สายไฟ เป็นต้น
ระบบการสื่อสารทุกชนิดจะต้องมีองค์ประกอบครบ ถ้าขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไป การสื่อสารจะไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น การโทรศัพท์ไปหาเพื่อนแต่ไม่มีผู้รับสายหรือเป็นเสียงตอบรับจากเครื่องตอบรับโทรศัพท์แบบอัตโนมัติก็จะไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้น เนื่องจากขาดผู้รับข้อมูลไป แต่ถ้ามีการตอบรับโทรศัพท์ก็ถือว่าการสื่อสารได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว เรียกว่า วงจรสื่อสารได้รับการจัดตั้งขึ้นแล้ว
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูล มีองค์ประกอบพื้นฐานหลักอยู่ 4 อย่าง คือ
1. ผู้ส่งและผู้รับ
2. โพรโตคอลและซอฟต์แวร์
โพรโตคอล คือ วิธีการหรือกฎระเบียบต่างๆ เพื่อคอบคุมการทำงานของระบบสื่อสารข้อมูลทั้งของผู้ส่งและผู้รับ
ซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่ให้การดำเนินงานในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามโปรแกรมที่กำหนดไว้
3. ข่าวสาร คือ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสารข้อมูล
4. สื่อกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสาร เพื่อนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง เช่น สายเคเบิล สายไฟ เป็นต้น
ระบบการสื่อสารทุกชนิดจะต้องมีองค์ประกอบครบ ถ้าขาดส่วนใดส่วนหนึ่งไป การสื่อสารจะไม่เกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น การโทรศัพท์ไปหาเพื่อนแต่ไม่มีผู้รับสายหรือเป็นเสียงตอบรับจากเครื่องตอบรับโทรศัพท์แบบอัตโนมัติก็จะไม่มีการสื่อสารเกิดขึ้น เนื่องจากขาดผู้รับข้อมูลไป แต่ถ้ามีการตอบรับโทรศัพท์ก็ถือว่าการสื่อสารได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว เรียกว่า วงจรสื่อสารได้รับการจัดตั้งขึ้นแล้ว
1.จงอธิบายความหมายของการสื่อสารข้อมูล และยกตัวอย่างประกอบ
1. จงอธิบายความหมายของการสื่อสารข้อมูล และยกตัวอย่างประกอบ
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การถ่ายทอดข้อมุลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายการสื่อสาร การถ่ายทอดข้อมูลจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดก็งต่อเมื่อข้อมูลนั้นถูกเปลี่ยนให้ไปอยู่ในรูปแบบที่เหมาะแก่การถ่ายทอด ซึ่งเป็นลักษณะที่เหมาะสมแก่ผู้ส่งและผู้รับข้อมูล
เช่น คอมพิวเตอร์ส่งสัญญาณแบบดิจิทับไปที่ระบบเครือข่ายโทรศัพท์ แต่โทรศัพท์ถ่ายทอดสัญญาณแบบแอนะล๊อก โมเด็มจึงต้องแปลงสัญญาณก่อนแล้วจึงส่งไป เพื่อให้ทั้งผู้ส่งและผู้รับได้รับสัญญาณที่เหมาะสม
การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การถ่ายทอดข้อมุลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายการสื่อสาร การถ่ายทอดข้อมูลจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดก็งต่อเมื่อข้อมูลนั้นถูกเปลี่ยนให้ไปอยู่ในรูปแบบที่เหมาะแก่การถ่ายทอด ซึ่งเป็นลักษณะที่เหมาะสมแก่ผู้ส่งและผู้รับข้อมูล
เช่น คอมพิวเตอร์ส่งสัญญาณแบบดิจิทับไปที่ระบบเครือข่ายโทรศัพท์ แต่โทรศัพท์ถ่ายทอดสัญญาณแบบแอนะล๊อก โมเด็มจึงต้องแปลงสัญญาณก่อนแล้วจึงส่งไป เพื่อให้ทั้งผู้ส่งและผู้รับได้รับสัญญาณที่เหมาะสม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)